2 รูปแบบหลัก
คิดว่า Scytale น่าจะมาก่อน Rail Fence นะ มันน่าจะคิดง่ายกว่าด้วย เพราะแค่หา objectที่wrap กระดาษได้
The first uses of the transposition cipher are traced back to the ancient Greeks. They used a device called a scytale (rhymes with “Italy”) to encrypt and send messages.
http://www.cs.trincoll.edu/~crypto/historical/railfence.html
อยากให้เล่าให้มันสนุกกว่านี้ อันนี้ดูทางการมาก คืออยากเล่าให้มันเห็นภาพ ให้เห็น use case ถ้ามีแค่ theory คิดว่าไม่น่าสนใจ
อาจจะมีเล่า story เช่นสมัยก่อน ตอนสงคราม ต้องมีส่งข้อความลับระหว่าง army general ซึ่งข้าศึก (attacker)ในที่นี้คือ ฝ่ายตรงข้าม อาจจะมาโขมยข้อความ ต้องหาทางแก้ไข ไม่ให้ข้อมูลถูกตรงข้ามเข้าใจได้ เลยเกิดการเข้ารหัสเกิดขึ้น
กราฟฟิกอาจจะเป็นเหมือน spartan ขี่ม้า มาโขมย แต่โขมยไปแล้วอ่านไม่ออก อะไรงี้
อาจจะมีเหมือนรุป We are Spartan อะไรงี้ รูปนี้+ crypto อาจจะน่าสนใจ
ชื่อกระทู้อาจจะเป้นแบบ Spartan and Crypto
cipher คือ algorithm ในการเข้ารหัส แปล plain text → cipher text
“Cipher” is the algorithm or process used to encrypt the data (i.e. AES, RSA, etc.).
“Encryption” is the process of converting data using the aforementioned cipher.
Encryption is the application of cryptography*.
The science of encrypting and decrypting information is called cryptography .
Cryptography เป้น field of study เหมือน Geography, History etc
ต้องชัดเจนกว่านี้ ?
top to bottom ของแต่ละ col แล้วค่อยไป col ด้านขวา ?
อาจจะเพิ่มเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ American Civil War กราฟฟิกก็อาจจะมีเหมือนภาพสงคราม
A variation of the route cipher was the Union Route Cipher, used by Union forces during the American Civil War.
@Namtan @parinyar @Pantitas
คำถามอาจจะเพิ่มในส่วนของ role play เข้าไป เช่น คนอ่านเป็นสายลับ รับทราบมาว่าจะมีระเบิดเกิดขึ้นที่เมืองหนึ่ง แต่ไม่รู้เมืองไหน คนอ่านมีหน้าที่ถอดรหัส เพื่อป้องกันการระเบิดของเมือง (มี deadline) หรือเพื่อไปแจ้งให้คน evacuate ให้ทัน
password ที่ถอดออกมาจะเป็นชื่อสถานที
ชอบ อันนี้ เขียนดี !
อาจจะมีรูป หรือ โช์ text ตัวจริง ว่ามันเขียนว่าอะไร
ดูจากรุปแล้วดูไม่ออก
ทำไม Y ไม่อยู่ U?
อ่านแล้วพอเดาได้ แต่จะยังงงๆ หลายอย่างไม่เคลีย
อยากให้มีอีกบทความก่อน แนะนำถึง cryptoanalysis แล้วอธิบายถึง frequency analysis ซึ่งเกี่ยวข้องกับโพสนี้
ลองดูตัวอย่าง ของ Frequency analysis for simple substitution ciphers ในลิ้ง
ทุกอย่างมันมีที่เป็นที่มา อยากให้มีอธิบายเกี่ยวกับพวกนี้ด้วย
ตามลำดับอะไร ? alphabetical order?
อาจจะทำclickbait หน่อยตรงชื่อหัวข้อเลย หรือในเนื้อหา เช่น ถอดรหัสได้รับไปเลย 43 ล้านเหรียญสหรัฐ
ส่วนตัวมองว่าถ้ามันมีข้อความจริงที่ถอดรหัสออกมาเป็นภาพประกอบน่าจะดูดึงดูด ดูน่าสนใจ (จาก 3 หน้า page 2 เพจเดียวที่ถอดรหัสได้)
ยังงงว่ามัน homophonic ยังไง ในรูปมันเหมือน substitution ทั่วไป ?
ถ้าไม่มีอะไรเด่น สามารถ merge กับอันก่อนหน้าได้ไหม ?
EP 0: Cryptography คืออะไร ? และทำไมถึงเป็นเทคโนโลยีหลักที่ทำให้ Blockchain มีความปลอดภัย ?
เรามาเริ่มกันที่ Cryptography คืออะไร ?
Cryptography คือศาสตร์การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิคในการสร้างการสื่อสารที่มีความปลอดภัยระหว่าง 2 บุคคลในที่สาธารณะ กล่าวคือ เมื่อ A และ B สื่อสารกัน บุคลลที่สามจะไม่สามารถเข้าใจสิ่งที่พวกเขาสื่อสารกันได้ แม้จะได้ยินหรือเห็นข้อความที่ A และ B สื่อสารกัน
โดยในสมัยก่อนคำว่า “Cryptography” จะหมายถึงแค่การเข้ารหัสลับของข้อมูล แต่ในสมัยนี้ได้มีการนำ Cryptography ไปใช้ในด้านอื่นอีกด้วย เช่น การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล (Check Sum) ฯลฯ
และทำไม Cryptography ถึงได้มีบทบาทในโลกของ Blockchain ?
ระบบ Blockchain เป็นระบบที่มีความเป็น Decentralized กล่าวคือเป็นระบบที่ไม่มีตัวกลางมาคอยตัดสินว่าข้อมูลใดในระบบเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง จึงได้มีการนำศาสตร์การเข้ารหัสเข้ามาช่วยในการพิสูจน์ความถูกต้องของข้อมูล
ข้อมูลภายในระบบ Blockchain ถูกจัดเก็บเป็น Block และมีเชื่อมต่อกันโดยมีลักษณะเหมือนสายโซ่พ่วงติดกัน โดยภายใน Block แต่ละอันจะมีข้อมูลของ Block ก่อนหน้านั้นที่ถูกเข้ารหัสโดยศาสตร์ Cryptography ไว้แล้ว เพื่อใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของ Block ก่อนหน้า หากข้อมูลภายใน Block ก่อนหน้ามีแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลที่เคยถูกเข้ารหัสไว้ก่อนหน้านั้นจะเปลี่ยนไปด้วย และจะถือว่าข้อมูลนั้นเป็นข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ เป็นต้น
อันนี้ผมลองเขียนขึ้นมาเป็นตัวอย่างนะครับ น่าจะเอาไป merge กับคอนเท้นด้านบนได้
หลักๆ คืออยากจะอธิบาย 2 อย่าง
- Crpyptography คืออะไร
- ทำไม Cryptography ถึงมีบทบาทในโลกของ Blockchain
ควรพยายาม relate / compare กับเนื้อหาเก่าๆ มันจะทำให้เข้าใจง่ายมากขึ้น
อาจจะมีอธิบายความแตกกต่างกับ columnar transposition cipher ที่โพสไปก่อนหน้านี้
และมีการลิ้งไปหาโพสเก่า คนจะได้ไปอ่านโพสเก่าด้วย
ในส่วนของ EP0 อาจจะยังไม่ต้องอธิบายถึง block ที่พูดคืออยากให้พูดถึงว่า ทำไมต้องมาศึกษาเข้าใจ Crypto
crypto มีความสำคัญยังไงWhy do we need crypto?
ถ้าเข้าใจ fundamental/crypto จะทำให้เข้าใจการทำงานของระบบ blockchain , web3 ได้ง่ายขึ้น etc
blockchain คือหนึ่งใน application (การใช้งาน) ของ cryptography
EP 0: Cryptography คืออะไร ? และทำไมเราถึงควรที่จะศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับมัน ?
เรามาเริ่มกันที่ Cryptography คืออะไร ?
Cryptography คือศาสตร์การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิคในการสร้างการสื่อสารที่มีความปลอดภัยระหว่าง 2 บุคคลในที่สาธารณะ กล่าวคือ เมื่อ A และ B สื่อสารกัน บุคลลที่สามจะไม่สามารถเข้าใจสิ่งที่พวกเขาสื่อสารกันได้ แม้จะได้ยินหรือเห็นข้อความที่ A และ B สื่อสารกัน
ในยุคแรกเริ่มของการเข้ารหัสลับ ( Classical Cryptography ) คำว่า “Cryptography” จะหมายถึงแค่การเข้ารหัสข้อความที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารเท่านั้น แต่ในยุคปัจจุบัน ( Modern Cryptography ) คำว่า “Cryptography” นั้น ความหมายของมันนอกจาก จะหมายถึงแค่การเข้ารหัสข้อความแล้ว ยังหมายถึงวิธีที่ใช้ในการปกป้องความเป็นส่วนตัวหรือการพิสูจน์ทราบของข้อมูลอีกด้วย เช่น การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล (Check Sum) ฯลฯ
ทำไมเราถึงควรที่จะศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับ Cryptography ?
ในยุคปัจจุบันมนุษย์เราได้มองเห็นถึงความสำคัญในการปกป้องความเป็นส่วนตัว ไม่อยากให้ใครบุคคลอื่นที่ไม่ได้รับอนุญาติ เข้าถึงข้อมูลที่เราไม่อยากให้เข้าถึงได้ เช่น ข้อความแชท, ธุรกรรมทางการเงิน, ฯลฯ
วิทยาการเข้ารหัสลับ (Cryptography) จึงได้มีบทบาทสำคัญที่จะช่วยให้การติดต่อสื่อสารของเรามีความปลอดภัยจากบุคคลอื่นนอกเหนือจากคู่สนทนามากขึ้น
รู้หรือไม่ !!! Cryptography ยังถูกใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในระบบ Blockchain อีกด้วย
ต้องเปลี่ยนคำไม่ใช่ นำไปใช้
ในยุคของ Classical Cryptography
ตอนนี้ generally means something more than just encryption
อ่านเข้าใจ แต่ไม่รู้ภาษาไทยแปลอย่างงี้ดีไหม อ่านดูแล้วไม่ smooth
อะไรประมาณนั้น แต่ถ้าพูดถึง bitcoin, blockchain ด้วย แบบจิ้มๆหน่อย อาจจะทำให้ดูน่าสนใจ ?
ฝากปรับในส่วนของภาพ
- ภาพแรก เขียนแต่ภาษาไทยพอ “การเข้ารหัสลับที่เกิดขึ้นก่อนยุคคอมพิวเตอร์”
- ภาพสอง รูปแบบการเข้ารหัสในแบบ… => “ในยุค…”
- ภาพสอง ตรงคำอธิบาย “รูปแบบการเข้ารหัส เช่น…” ตัดเหลือ “เช่น…”
- ภาพสาม ตัดคำว่า “ระบบคือสลับที่ตัวอักษร” ทิ้งเลยครับ ข้างบนบอกไปแล้วว่าเป็นการเข้ารหัสแบบสลับตำแหน่ง
- ภาพที่สี่ พี่ว่าเปลี่ยนคำอธิบายใหม่ดีกว่าครับ "ตัวอย่างเช่น การเข้ารหัสด้วยการขยับตัวอักษรทุกตัวไปข้างหน้า 3 ตำแหน่ง เช่น ABC เข้ารหัสเป็น DEF เป็นต้น @Namtan ฝากปรับหน่อยพี่รู้สึกว่า เช่นมันซ้ำเยอะแต่ไม่รู้จะอธิบายอย่างอื่นยังไงเผื่อนึกออก
ฝากปรับในส่วนของเนื้อหา
- “ศาสตร์ที่มีชื่อว่า “Cryptography” กันไปแล้ว มาใน EP” => “ศาสตร์ที่มีชื่อว่า “Cryptography” กันไปแล้ว มาใน EP นี้”
- “ว่าคนในยุคก่อนเข้าใช้ศาสตร์ Cryptography ในการสร้างความปลอดภัยในการสื่อสาร” => “ว่าคนในยุคก่อนเขาใช้ศาสตร์ Cryptography ในการสร้างความปลอดภัยในการสื่อสาร”
- “ถ้าหากเราย้อนกับไปในอดีต อย่าง…” => “ถ้าหากเราย้อนกลับไปในอดีตตั้งแต่…”
- “มีเพียงแค่คู่สนทนาของเราที่มีคีย์ (Key)* เท่านั้น” => “มีเพียงแค่คู่สนทนาของเราที่เข้าใจรูปแบบการเข้ารหัสเท่านั้น” ดีกว่าไหมครับกว้างๆ จะได้ไม่ต้องไปอธิบาย Key ต่อด้วย…
- “ยุคคลาสิก” => “ยุคคลาสสิก”
cc: @anakornk
ส่วนอันนี้ปันไม่ได้แก้นะคะพี่บูม ปันคิดว่ามี Eng ด้วยน่าจะช่วยให้เข้าใจได้ว่าเราพูดถึงเรื่องอะไรค่ะ อันนี้ปันเลยยังไม่เอาออก แต่ว่าถ้าหากลองคุยกันแล้วจะให้มีแต่ไทยก็แก้อีกทีได้ค่า
ภาพรวมพี่อ่านแล้วรู้สึกสนุกดี ลื่นไหลเหมือนฟังคนเล่าเรื่อง สไตล์ประมาณนี้ดีมากครับ
- ยังติดประเดนที่สงสัยครับ จำนวนคอลัมน์จะเท่ากับจำนวนตัวอักษรทั้งหมดในข้อความที่ส่งมา ตรงนี้ใช่แบบนี้หลอครับเพราะถ้าพี่กำหนดให้มี 10 แถว จำนวนคอลัมน์ที่ใช่ในการซิกแซกจะลดลงปะครับ พี่เลยคิดว่าคีย์ของมันคือการกำหนดแถวมากกว่า แล้วพอเราจับ word มาทำซิกแซกเราถึงจะรู้ว่ามันมีกี่ Column ใช่ปะครับ?
อันนี้ฝาก @Namtan ดูนะครับ
- @Pantitas อันนี้ยังไม่มี info graphic ใช่ไหมครับ ขอเสนอรูป คนสองคนตะโกนคุยกัน แล้วข้อความวิ่งเป็นคลื่นรูปซิกแซกไปเข้าหูอีกคน
ฝากแก้ไข @Namtan
- จาก EP ที่ผ่านแล้วเรา => จาก EP ที่ผ่านมาเราได้พา… (ระวังคำตก)
- มาใน EP เราจะพาทุกคนมาลอง => ใน EP นี้เราจะพาทุกคนมาลอง (ระวังคำตก และการใช้คำเดิมๆ ซ้ำๆ อ่านแล้วมันซ้ำซ้อนครับ)
- โดยการนำเอาคีย์ที่กำหนด นำไปใส่ในตารางลำดับตัวอักษรโดยการแทรกลำดับให้คีย์ไว้หน้าสุดของตาราง => โดยการนำเอาคีย์ที่กำหนด ไปแทรกหน้าสุดของตาราง (ประโยคยาวเฟื้อยเลย พยายามดูเรื่องความกระชับหน่อยครับ บางทียาวไปเวิ้นเว้อ อ่านแล้วงงซะอีกครับ )
- อันดับแรกเช่นเดิมเลย คือเราต้องมาทำการเข้ารหัสข้อความลับของเราก่อน => อันดับแรกเลย! เราต้องมาทำการเข้ารหัสข้อความลับของเราก่อน
- “1. กำหนดคีย์ คือคำว่า ZEBRAS จากนั้นนำคีย์ไปสร้าง Cipher Text Alphabet โดยให้นำคีย์ไปใส่ไว้ในตอนต้นของตาราง พร้อมทำการสลับตำแหน่งและเรียงตัวอักษรตามลำดับ” => เราเอาคีย์ไปใส่ไว้ในตอนต้นของตารางแล้ว เราไม่ได้สลับตำแหน่งอะไรนินา แต่เราจะเขียนตัวอักษรเรียง A-Z ต่อท้ายไปโดยถ้าเจอตัวอักษรใดซ้ำกับตัวอักษรในคีย์เราจะข้ามไม่เขียนตัวนั้นลงไป (มันเลยเปรียบเสมือนสลับตำแหน่งตัวอักษรที่ปกติจะเรียง A-Z แต่จะมีบางตัวที่ซ้ำกับคีย์ถูกดึงมาไว้ในคีย์ตอนต้นแทน) ฝากลองปรับการอธิบายใหม่ครับ เพิ่มเติมครับ อยากให้แจ้งด้วยว่าคีย์ไม่ควรมีตัวอักษรซ้ำกันใช่ไหมครับ เช่น BOOM ใช้เป็นคีย์ไม่ได้ใช่ไหมฝากยืนยันด้วยถ้าใช่ควรเขียนให้ชัดเจนครับ
@Pantitas ขอเสนอภาพ info graphic อาจจะทำเป็นล้อเลียนว่าชื่อหัวข้อมัน Simple แต่มันก็ไม่ได้ simple ขนาดนั้นนะสำหรับคนตาดำๆ ไรงี้ 5555
AW concept
EP ต่อไปเป็นการเข้าหรัสแบบ Railfence Cipher ค่ะ หลัก ๆ เนื้อหาจะเน้น อธิบาย Rail fence Cipher และอธิบายบายการเข้า และการถอดรหัส
Outline
- Cover – จะนำ idea ที่พี่บูมได้ comment ไว้มาใส่เพิ่มทำให้ cover ดูเข้าถึงง่ายขึ้นค่ะ (Content idea : Series ถอดรหัสกับ Hashpire - #51 by supanut)
- Rail Fence Cipher คืออะไร – ใช้ diagram ช่วยให้การเขียนอธิบายเห็นภาพมากขึ้น
- อธิบายการเข้ารหัส (Encryption)
- อธิบายการถอดรหัส (Decryption)
สำหรับการเข้าและถอดรหัส จะใช้รูปของพี่น้ำตาลที่ยกตัวอย่างการเข้าไว้ นำไปสร้างเป็น artwork และเพิ่มคำอธิบายทีละ step ตามข้อมูลในบทความ
- Ending